รายวิชา Solar Bomb ระบบสุริยะน่ารู้
คำอธิบายรายวิชา
รายวิชานี้ออกแบบมาเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะและอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ จากแบบจำลองได้ นอกจากนี้ให้ผู้เรียนเข้าใจขอบเขต หลักการ ทฤษฎี และกฎที่เป็นพื้นฐานของวิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อนำความรู้ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
จำนวนชั่วโมงเรียนรู้
จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 3 ชั่วโมงการเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 1 ชั่วโมง 57 นาที)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิดระบบสุริยะได้
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจำแนกองค์ประกอบของระบบสุริยะได้
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายรายละเอียดความสัมพันธ์ของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะได้
4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบอกถึงความแตกต่างของดาวเคราะห์และวัตถุต่าง ๆ ในระบบสุริยะได้
5. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบอกตำแหน่งของดาวเคราะห์แต่ละดวงได้
คุณสมบัติผู้เรียน
สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
เกณฑ์การวัดผล
ผู้เรียนต้องเข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน และมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้
ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา Solar Bomb ระบบสุริยะน่ารู้
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก
นางสาวเมทิกา อารยะกุล 640610327
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
นางสาวฐานนิตา กิจหว่าง 640610310
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
นางสาวณัฐธิชา ภักดิ์วาปี 640610313
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
นายณัฐภัทร ศรีอินทนนท์ 640610316
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
นางสาวปนัสยา เมืองรอด 640610322
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
นางสาวภัทรวรรณ กงแก้ว 640610326
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
นางสาวอรณิชา ทองประศรี 640610331
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
นางสาวอัญรินทร์ ปิ่นแก้ว 640610332
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน
E-mail: solarbombsu999@gmail.com
เบอร์โทร: 099-999-9999
Creative Commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์
“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”